Meeting
จำนวนผู้สมัครอบรม TM2023-Track 2.1
Underline
Point
test
1
คน
Point
1
46
คน
Point
2
74
คน
Point
3
40
คน
Point
4
50
คน
Point
5
79
คน
Point
6
133
คน
ที่มาของหลักสูตร
จากการประชุมร่วมคณะกรรมการพิจารณาโครงการส่งเสริมให้บุคลากรวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถ ในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) ครั้งที่ 2/2566ที่ประชุมมีมติเห็นชอบรายละเอียดของกระบวนการและแนวทางการสนับสนุน การเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัย ในภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) โดยมีแนวทางในการดำเนินการทั้งสิ้น 3 Track
Icon
สถานประกอบการ
เอกชนที่มีความต้องการนำงานวิจัยไปต่อยอดใช้งานจริง/พัฒนาระบบวิจัยและพัฒนาในองค์กร
Icon
TM Clearing House
รับโจทย์ความต้องการ และจับคู่อาจารย์/นักวิจัย
Icon
อาจารย์/นักวิจัย
ที่มีความเชี่ยวชาญตอบโจทย์ความต้องการ
Icon
ประเมินโครงการ ให้เหมาะสมกับรูปแบบ การสนับสนุน
Point icon
Track 1
Talent Mobility for SME’s Technology Installation
การเคลื่อนย้ายบุคลากรด้านการวิจัยเพื่อติดตั้งเทคโนโลยีในสถานประกอบการ
Point icon
Track 2
2.1 Developing Experts in R&D Stralegy and Plan Formulation for SMEs
การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ
2.2 Formulating R&D Strategy and Plan for SMEs
การสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ
Point icon
Track 3
Talent Mobility for R&D Activation under SME’s R&D Strategy and Plan
กระตุ้นกิจกรรมตามกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาของสถานประกอบการ
โดยมีการริเริ่ม Track 2.1 ที่เน้นการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมการเคลื่อย้ายบุคลากรวิจัย ไปช่วยเพิ่มศักยภาพการวิจัยและพัฒนาของสถานประกอบการ โดยเป็นการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา สำหรับสถานประกอบการ (Developing Experts in R&D Strategy and Plan Formulation for SMEs) โดยเป็นการสนับสนุนการสร้างผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความเข้าใจในกระบวนการวางกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา ผ่านหลักสูตรการอบรม 15 ชั่วโมง เพื่อสร้างความเข้าใจกระบวนการ วางกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ และบทบาทหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญ
หลักสูตรพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ
Talent Mobility เป็นโครงการที่ดำเนินกว่า 4 ปี จำนวนโครงการ 242 โครงการ โดยที่ผ่านมา สามารถตอบสนองเป้าประสงค์ของโครงการ ในระยะที่ 2 มุ่งพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ เพื่อทำงานกับภาคอุตสาหกรรม
พัฒนาศักยภาพงานวิจัย
มีแนวทางที่เน้นการพัฒนาศักยภาพการวิจัย ในภาคอุตสาหกรรม (TM) เน้นการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ ในการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานวิจัย และพัฒนาของสถานประกอบการ
เป้าประสงค์โครงการ
สร้างผู้เชี่ยวชาญและเจ้าหน้าที่ สนับสนุนเพื่อช่วยภาคอุตสาหกรรมวิเคราะห์และ วางแผน
Talent Mobility
Track 2.1
Track 2.1
Underline
  • การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ (Developing Experts in R&D Strategy and Plan Formulation for SMEs)
  • สร้างความเข้าใจกระบวนการวางกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับ สถานประกอบการและบทบาทหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญ
  • สร้างเจ้าหน้าที่สนับสนุนการทำงานของผู้เชี่ยวชาญกับสถานประกอบการ
  • พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
R&D Road Map
Strategy
Situation Diagnosis
SWOT Analysis
Trend Analysis
Strategy Guidelines
R&D Blueprint
Plan
R&D Capacity Building
R&D Financial
R&D Activities
Collaboration
Equipment, Material & Access
Merge & Acquire
Strategy Guidelines
Image
R&D Capacity Building
Image
R&D Financial
Image
R&D Activities
Aligment of R&D
Plan with
Company’s Strategy
Market & Business
Process & Technology
Product
Human Resources
Image
Business
Trend
Image
Company
Strategy
activities and schedule
กิจกรรมและกำหนดการ
หลักสูตรในการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้าน
การวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ (TM2023-Track2.1)
Underline
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ test
point icon
วันที่ 18 - 31 ธันวาคม พ.ศ.2566
For Test
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 1
point icon
วันที่ 18 - 19 กันยายน พ.ศ.2566
ณ ลาน XCITE Space ชั้น 17 อาคาร KX Build กทม.
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 2
point icon
วันที่ 19 - 20 ตุลาคม พ.ศ.2566
ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จ.เชียงใหม่
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 3
point icon
วันที่ 30 - 31 ตุลาคม พ.ศ.2566
ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ขอนแก่น
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 4
point icon
วันที่ 14 - 15 ธันวาคม พ.ศ.2566
ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 5
point icon
วันที่ 09 - 10 มกราคม พ.ศ.2567
ณ อาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จังหวัดชลบุรี
TM2023-Track2.1 รุ่นที่ 6
point icon
วันที่ 23 - 24 มกราคม พ.ศ.2567
ณ อาคารอานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
วันแรก
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-09.30 น. พิธีเปิด และการแนะนำโครงการ
09.30-10.30 น. Module F บทบาทและพันธกิจของผู้เชี่ยวชาญในการยกระดับผู้ประกอบการสู่องค์กรที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม วิจัยและพัฒนา (RDIDE)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญานุภาพ อานันทนะ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10.30-10.45 น. เบรค
10.45-12.00 น. Module F (ต่อ)
12.00-13.00 น. เบรคเที่ยง
13.00-15.00 น. Module 1 การวิเคราะห์องค์กร เพื่อการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต โสภาแดง คณบดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
15.00-15.15 น. เบรค
15.15-16.00 น. Workshop 1 การกำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์แนวโน้ม และการบ่งชี้ช่องว่างเพื่อการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
16.00-17.00 น. Workshop 2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และสถานการณ์ เพื่อการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
วันที่สอง
08.00-08.30 น. ลงทะเบียน
08.30-10.30 น. Module 2 การวางแผนและการพัฒนาความสามารถขององค์กร เพื่อการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต โสภาแดง คณบดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10.30-10.45 น. เบรค
10.45-11.15 น. Workshop 3 การกําหนดเทคโนโลยีในอนาคต และแนวทางในการวิจัยและพัฒนา
11.15-12.00 น. กรณีศึกษา RDIDE
12.00-13.00 น. เบรคเที่ยง
13.00-15.00 น. Module 3 การสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต โสภาแดง คณบดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
15.00-15.15 น. เบรค
15.15-16.00 น. Workshop 4 การสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนา
16.00-16.45 น. ระบบสนับสนุนการสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ TMS
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์ หัวหน้าหน่วยวิจัยการจัดการโซ่อุปทานและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
16.45-17.00 น. พิธีปิด
FAQs
Q: มีค่าใช้จ่ายในการสมัครและการรับอบรมหรือไม่
A : การสมัครและอบรมเป็นแบบไม่มีค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ดีผู้เข้าร่วมอบรมต้องบริหารจัดการและรับผิดชอบการเดินทางและที่พัก
Q: ใช้เกณฑ์ใดในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมอบรม
A : การคัดเลือกผู้เข้าร่วมการอบรมประเมินจากเอกสารการสมัคร ได้แก่ ตำแหน่งวิชาการ สังกัด TM Clearing House CV การมีนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ประสบการณ์ทำงานร่วมกับภาคเอกชน ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีหรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ความเชี่ยวชาญด้านการจัดการนวัตกรรมหรือด้านเทคโนโลยี และผลการประเมินตนเอง
Q: มีการจำกัดจำนวนผู้เข้าร่วมอบรมหรือไม่
A : การอบรม TM2023-Track 2.1 ในงบประมาณปี พ.ศ. 2566 มีโควต้าผู้เข้าร่วมอบรม (ผู้เชี่ยวชาญ) จำนวนรวมทั้งสิ้น 200 คน ซึ่งแบ่งเป็นการอบรม 6 รุ่น ตามวันเวลาที่ระบุ
Q: อบรมผ่านแล้วจะได้อะไร
A : การอบรม 15 ชั่วโมงนี้ เป็นกิจกรรมของ Talent Mobility Track 2.1 (การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัย และพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ) ซึ่งหากผู้เข้าอบรมผ่านการประเมินจะสามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะสามารถขอรับทุนในการดำเนินกิจกรรม Talent Mobility Track 2.2 (การสร้างกลยุทธ์และแผนปฏิบัติด้านการวิจัยและพัฒนาสำหรับสถานประกอบการ) ต่อไปได้
ติดต่อเรา
Underline
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
บริหารโครงการ หน่วยวิจัยการจัดการโซ่อุปทานและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หัวหน้าโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิชาต โสภาแดง
ดูข้อมูล
รองหัวหน้าโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์เกษม ระมิงค์วงศ์
ดูข้อมูล
นักวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาลินี สันติธีรากุล
ดูข้อมูล
ผู้รับผิดชอบโครงการ
กองขับเคลื่อนและพัฒนาการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
เลขที่ 328 (ชั้น 17 อาคารอุดมศึกษา2) ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400